ต้มยำมะระเห็ดสามอย่าง ช่วยปรับสมดุลรางกาย
ผู้ควบคุมน้ำทั้งสาม
ธาตุน้ำภายในรางกายมีทั้งหมด 12 ประการ คือ น้ำดีเสลด น้ำหนอง น้ำเลือด น้ำเหงื่อ น้ำตา มันขน มันเหลว น้ำลาย น้ำมูก น้ำไขขอ น้ำปสสาวะหรือน้ำมูตร ทั้ง 12 ประการนี้แบงการควบคุมสำคัญเปน 3 จุด คือ ศอเสมหะ อุระเสมหะ และคูถเสมหะ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ศอเสมหะ หมายถึง ธาตุน้ำตั้งแตชวงคอขึ้นไปจนถึงศีรษะ มักเกี่ยวกับเสลด น้ำมูก หรือการทำงานของตอมตางๆ ที่ผลิตเมือก จุดนี้มักถูกกระทบไดงายในชวงตนฤดูหนาว (ตามปฏิทินไทยโบราณ ฤดูหนาวจะเริ่มในวันลอยกระทงของทุกป และสิ้นสุดในวันแรม 1 ค่ำของเดือนมีนาคม)
อาการบงชี้ความผิดปกติ มีเสมหะมาก (ธาตุน้ำกำเริบ) หรือเสมหะเหนียว (ธาตุน้ำหยอนหรือธาตุไฟกำเริบ) นั่นเอง
2. อุระเสมหะ หมายถึง ธาตุน้ำตั้งแตชวง คอลงมาจนถึงชวงเหนือสะดือ ในจุดนี้มักถูกกระทบ ไดงายที่สุดในชวงกลางฤดูหนาว
อาการบงชี้ความผิดปกติ หายใจลำบาก มีปญหาเกี่ยวกับโรคปอดและระบบทางเดินหายใจชวงอก หอบหืดหรืออาการไอหอบ อาเจียน รวมถึงอาการปวดทองที่เกี่ยวกับน้ำยอยในกระเพาะ อาหารยอยไมดีอันเนื่องจากน้ำดี ผิดปกติ เปนตน
3. คูถเสมหะ หมายถึง ธาตุน้ำตั้งแตสะดือลงไป อาจเปนน้ำมูกหรือเมือกในลำไส น้ำในอุจจาระ น้ำปสสาวะ น้ำในมดลูก น้ำอสุจิ ในจุดนี้มักประสบปญหาไดงายในชวงปลายฤดูหนาว
อาการบงชี้ความผิดปกติ ปัญหาเรื่องระบบขับถ่าย เช่น ทองเสียหรือทองผูก มีปญหากับการถายปสสาวะ เปนตน
อาการผิดปกติของธาตุน้ำในสามจุดหลักนี้มักเกิดขึ้นไดงายในชวงเวลา 6.00 น. – 18.00 น. ของวันโดยเฉพาะ ฤดูหนาว โดยสามารถเกิดไดในทุกวัย แตชวงอายุที่เสี่ยงตอการเสียสมดุลที่สุดคือ ตั้งแตแรกเกิดจนถึงอายุ 16 ป ผูที่มี ธาตุเจ้าเรือนเปนธาตุน้ำจะมีโอกาสเสี่ยงที่สุด
การแก้ปัญหาของธาตุน้ำทั้งสามจุดเบื้องต้นมีวิธีง่ายๆ คือ การรับประทานอาหารใหเหมาะสมกับธาตุ โดยรับประทาน อาหารรสเปรี้ยวเมื่อเสมหะในรางกายมีมากเกินไป เพื่อชวยขับเสมหะสวนเกินออกมาและอาจใชรสเค็มชวยชะลางเสมหะ หรือเลือกใชรสขมเมื่อเสมหะเหนียว ผิวแหง ซึ่งอาจเปนผลมาจากธาตุไฟกำเริบ จึงทำใหน้ำในรางกายสูญเสียไป รสขม จะชวยขมไฟธาตุให้ลดลงอยู่ในระดับปกติได
ทั้งนี้จุดสำคัญที่สุดซึ่งสามารถบงชี้สุขภาพมวลรวมวาสมดุลหรือเสียสมดุลคือ คูถเสมหะ แพทยสมัยโบราณจึงใชการซักประวัติผูปวยเกี่ยวกับระบบขับถาย ตลอดจนกลิ่นและสีของอุจจาระ และเนนการใชยาระบายและยาขับปสสาวะกอนที่จะใชยารักษาโรคหรือ ปรับธาตุตอไป
เมนู ต้มยำมะระเห็ดสามอย่าง ช่วยปรับสมดุลรางกาย รสขมจากมะระและรสเย็นจากเห็ดจะชวยควบคุมระดับไฟธาตุใหปกติ ขณะเดียวกัน รสเปรี้ยวและเค็มจากน้ำตมยำก็ชวยขับเสมหะสวนเกินออกจากรางกายได เมนูนี้จึงเหมาะกับคนธาตุน้ำหรือผูที่กำลังมีปญหาที่กลาวไวดานบนอยางยิ่ง
ต้มยำมะระเห็ดสามอย่าง
ส่วนผสม (สำหรับ 2 ที่) เตรียม 20 นาที ปรุง 10 นาที
- มะระจีนหั่นบาง 2 ถวย
- เห็ดเข็มทองตัดโคน 1 ถวย
- เห็ดโคนญี่ปุนตัดโคน 1 ถวย
- เห็ดหิมะฉีกเปนกอน 1 ถวย
- ตะไครบุบตัดเปนทอน 5 ตน
- ใบมะกรูดฉีก 10 ใบ
- หอมเล็กบุบ 10 หัว
- มะเขือเทศลูกใหญ 2 ลูก
- น้ำมะนาว 1/2 ถวย
- เกลือ 1 ชอนชา
- น้ำตาลทราย 1/2 ชอนโตะ
- ผงปรุงรสเห็ดหอม 1 ชอน
- น้ำเปลา 4 ถวย
- พริกขี้หนูตามชอบ
- ผักชีใบเลื่อยหั่นทอนสั้นตามชอบ
วิธีทำ
1. เติมน้ำใส่หม้อ ยกขึ้นตั้งไฟจนเดือด จึงใส่ตะไคร้ ใบมะกรดู เร่งไฟให้แรงขึ้นจนกลิ่นหอม ปดไฟ กรองเอาแตน้ำ
2. นำน้ำที่กรองแลวใสหมอ ยกขึ้นตั้งไฟจนเดือด ใสเห็ดสามอยาง หอมเล็ก มะเขือเทศ ปรุงรสดวยเกลือ น้ำตาล ผงปรุงรสเห็ดหอม ตามดวยมะระ ตมตอสักครูจนมะระสุก บุบพริกขี้หนูใสลงไป ตามดวยผักชีใบเลื่อย ปดไฟ เตมน้ำมะนาว ตักใส่ถ้วยรับประทานขณะร้อน
รสปรับสมดุลของธาตุน้ำคือ เปรี้ยว ขม และเมาเบื่อ จะใชกรณีที่ธาตุน้ำเริ่มเสียสมดุลเทานั้น หากธาตุน้ำในรางกายปกติ แตเลือกรับประทานอาหารทั้งสามรสดังกลาวเสมอ จะทำใหธาตุน้ำเสียสมดุลได แมบุคคลผูนั้นจะมีธาตุเจาเรือนเปนธาตุน้ำก็ตาม และสำหรับผูที่มีปญหาเกี่ยวกับธาตุไฟหยอน การรับประทานอาหารรสขมอาจทำใหธาตุไฟยิ่งลดนอยลง กรณีเดียวกันกับผู้ที่มีปัญหาธาตุไฟกำเริบ หากรบประทานอาหารรสเปรี้ยวก็จะทำให ธาตุไฟในรางกายกำเริบหนักได
ดังนั้นจึงควรควรใช้วิจารณญาณในการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนอยางละเอียดกอนเสมอ และควรเลือกอาหารที่บำรุงธาตุทั้งสี่ใหครบใน หนึ่งมื้อเพื่อใหแตละธาตุทำงานรวมกันอยางสอดคลองสมบูรณ
พลังงานตอหนึ่งหนวยบริโภค 87.00 กิโลแคลอรี
โปรตีน 4.77 กรัม ไขมัน 0.60 กรัม
คารโบไฮเดรต 20.45 กรัม ไฟเบอร 2.65 กรัม
เมนูปรับสมดุลร่างกายอื่นๆ คลิก